บทที่ 4
สูตรการหาพื้นที่และปริมาตร

ปริซึม
ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า ปริซึม ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบเดียวกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน หรือเรียกง่ายๆว่า แท่งเหลี่ยมตัน
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับปริซึม
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง
พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง X พื้นที่หน้าตัดหัวท้าย
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน X ความสูง
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง
พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง X พื้นที่หน้าตัดหัวท้าย
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน X ความสูง
พีระมิด
ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า พีระมิด ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับพีระมิด
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 X ความยาวรอบฐาน X สูงเอียง
= พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกัน
พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด X พื้นที่ฐานของพีระมิด
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 X ความยาวรอบฐาน X สูงเอียง
= พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกัน
พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด X พื้นที่ฐานของพีระมิด
ทรงกระบอก
ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกระบอก ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอ เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า ทรงกระบอก
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอ เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า ทรงกระบอก
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับทรงกระบอก
ปริมาตรทรงกระบอก = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2 X สูงตรง
พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2
ปริมาตรทรงกระบอก = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2 X สูงตรง
พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2
กรวย
ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า กรวย ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่า กรวย
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่า กรวย
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกรวย
ปริมาตรของกรวย = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรง
พื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง
ปริมาตรของกรวย = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรง
พื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง
ทรงกลม
ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกลม ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดจุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกว่า ทรงกลม
จุดคงที่นั้นเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดจุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกว่า ทรงกลม
จุดคงที่นั้นเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทรงกลม
ปริมาตรของทรงกลม = 4/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 3
พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2
พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2
ปริซึมและพีระมิด
ทรงสามมิติ (Solid) ในที่นี้มีความหมายอย่างเดียวกับรูปทรงที่มีความกว้าง ความยาว และความสูง ทรงสามมิติที่กล่าวถึง ได้แก่
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึม ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม เป็นต้น
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึม ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม เป็นต้น
พื้นที่ผิว คือ ผลรวมของพื้นที่ผิวข้างทุกด้านของรูปทรง เช่น พื้นที่ผิวของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากจะมีพื้นที่ผิวข้าง 6 ด้านรวมกัน
ปริมาตร คือ ปริมาณที่วัดเพื่อแสดงบริเวณที่ว่าง (ความจุ) ภายในรูปทรงสามมิติ การวัดปริมาตรของรูปทรงสามมิติใช้หน่วยวัดเป็น
ลูกบาศก์หน่วย
ปริมาตร คือ ปริมาณที่วัดเพื่อแสดงบริเวณที่ว่าง (ความจุ) ภายในรูปทรงสามมิติ การวัดปริมาตรของรูปทรงสามมิติใช้หน่วยวัดเป็น
ลูกบาศก์หน่วย
ปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย คือ รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความกว้าง 1 หน่วย ความยาว 1 หน่วย และความสูง 1 หน่วย

ลูกบาศก์ A มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย
ลกบาศก์ B มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย
ลกบาศก์ B มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย

พื้นที่ผิวและปริมาตรรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ รูปทรงสามมิติที่ทุกด้านเป็นรูปเหลี่ยมมุมฉาก และด้านตรงข้ามเท่ากันทุกประการและขนานกัน

สูตร พื้นที่ผิวของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ผลรวมของด้านทั้ง 6 ด้าน
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง x ความยาว x ความสูง
หรือ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน x สูง
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง x ความยาว x ความสูง
หรือ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน x สูง
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม เมื่อกำหนดด้านให้ 3 ด้าน

พื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

1. ปริซึม
ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งคู่อยู่ในระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็น
ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งคู่อยู่ในระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็น
รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

สูตร พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ผิวหน้าตัด
ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
พื้นที่ผิวของปริซึม เมื่อคลี่ผิวข้างของปริซึมใด ๆ พบว่า จะเกิดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความยาวเท่ากับเส้นรอบฐานและส่วน
แบบทดสอบ
1.
ขุดบ่อเลี้ยงปลาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 22 เมตร กว้าง 8 เมตร ลึก 1.5 เมตร ถ้าค่าจ้างขุดดินราคาลูกบาศก์เมตรละ 12 บาท จะต้องจ่ายค่าจ้างขุดเท่าไร

1.2,864 บาท
2.3,168 บาท
3.3,180 บาท
4.3,246 บาท
2.
ต้องการดินน้ำมันเพื่อปั้นเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ฐานมีความยาวด้านละ 8 เซนติเมตร และสูง 15 เซนติเมตร จะต้องใช้ดินน้ำมันกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1.280 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2.296 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3.300 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4.320 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3.
ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสแท่งหนึ่งมีพื้นที่ผิวข้าง 280 ตารางฟุต และปริมาตร 490 ลูกบาศก์ฟุต ข้อใดเป็นความสูงและความยาวของฐานปริซึมตามลำดับ
1.10 ฟุต, 8 ฟุต
2.8 ฟุต, 10 ฟุต
3.10 ฟุต, 7 ฟุต
4.7 ฟุต, 10 ฟุต
4.
กรวยอันหนึ่งมีปริมาตร 1,056 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีรัศมีที่ฐาน 12 เซนติเมตร กรวยนี้มีส่วนสูงเท่าไร
1.6 เซนติเมตร
2.7 เซนติเมตร
3.8 เซนติเมตร
4.14 เซนติเมตร
5.
อ่างเก็บน้ำเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูมีพื้นที่ก้นอ่าง 96 ตารางเมตร บ่อลึก 2 เมตร ถ้าอ่างเก็บน้ำมีน้ำอยู่ 144 ลูกบาศก์เมตร แล้วระดับน้ำอยู่ต่ำกว่าขอบบนของอ่างเก็บน้ำกี่เซนติเมตร
1.48 เซนติเมตร
2.50 เซนติเมตร
3.56 เซนติเมตร
4.60 เซนติเมตร
6.
ทรงกระบอกมีปริมาตร 258 ลูกบาศก์ฟุต ถ้ากรวยกลมตั้งอยู่บนฐานเดียวกันกับทรงกระบอก และมีความสูงเท่ากัน กรวยกลมจะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์ฟุต
1.64 ลูกบาศก์ฟุต
2.72 ลูกบาศก์ฟุต
3.80 ลูกบาศก์ฟุต
4.86 ลูกบาศก์ฟุต
7.
ถ้านำลูกตะกั่วทรงกลมตันมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ไปหลอมเป็นทรงกระบอกที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร จะได้ทรงกระบอกที่มีความสูงกี่เซนติเมตร
1.9 เซนติเมตร
2.18 เซนติเมตร
3.20 เซนติเมตร
4.24 เซนติเมตร
8.
กรวยอันหนึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางที่ฐานยาว 16 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร ถ้าตัดยอดกรวยออกในแนวขนานกับฐานกรวย และวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของฐานที่ตัดออกได้ 8 เซนติเมตร ปริมาตรของส่วนที่เหลือเป็นกี่เท่าของส่วนที่ตัดออก
1.4 เท่า
2.6 เท่า
3.7 เท่า
4.10 เท่า
9.
ถังน้ำทรงกระบอกใบหนึ่งมีรัศมี 4 เมตร สูง 7 เมตร ถ้าใส่น้ำลงไป 176 ลูกบาศก์เมตร ระดับน้ำสูงกี่เมตร
1.3 เมตร
2.3.5 เมตร
3.4 เมตร
4.4.5 เมตร
10.
กรวยกลมที่มีปริมาตร 352 ลูกบาศก์เซนติเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร จะมีความสูงเท่าไร
1.21 เซนติเมตร
2.22 เซนติเมตร
3.23 เซนติเมตร
4.24 เซนติเมตร
11.
ทรงกระบอกรูปหนึ่งและกรวยกลมรูปหนึ่งมีปริมาตรและรัศมีของฐานเท่ากัน ถ้ากรวยกลมสูง 21 เซนติเมตร ทรงกระบอกสูงกี่เซนติเมตร
1.4 เซนติเมตร
2.5 เซนติเมตร
3.6 เซนติเมตร
4.7 เซนติเมตร
12.
หลอมโลหะทรงกลมตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 นิ้ว แล้วนำมาหลอมเป็นกรวยตันที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว สูงเอียง 5 นิ้ว จะได้กรวยตันทั้งหมดกี่อัน
1.75 อัน
2.300 อัน
3.375 อัน
4.750 อัน
13.
เมื่อ 6 ปีที่แล้ว บิดามีอายุเป็น 3 เท่าของอายุบุตร ถ้าในอีก 8 ปีข้างหน้า บิดามีอายุเป็น 2 เท่าของอายุบุตร ปัจจุบันบิดามีอายุกี่ปี
1.42 ปี
2.44 ปี
3.46 ปี
4.48 ปี
14.
ค่าเฉลี่ยของอายุของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งเป็น 42 ปี ถ้าอายุโดยเฉลี่ยของพนักงานหญิงเป็น 38 ปี และอายุโดยเฉลี่ยของพนักงานชายเป็น 48 ปี อัตราส่วนของจำนวนพนักงานหญิงต่อพนักงานชายเป็นเท่าไหร่
1.2 : 3
2.3 : 2
3.3 : 1
4.2 : 1
15.
แป้งชนิดที่หนึ่งราคากิโลกรัมละ 12 บาท แป้งชนิดที่สองราคากิโลกรัมละ 15 บาท ถ้าจะซื้อแป้งทั้งสองชนิดมาผสมกันแล้วขายในราคากิโลกรัมละ 14 บาท จะต้องผสมข้าวชนิดที่หนึ่งต่อชนิดที่สองในอัตราส่วนเท่าใด จึงจะขายได้เท่าทุนพอดี
1.2 : 1
2.1 : 2
3.3 : 1
4.1 : 3
16.
เรือโดยสารลำหนึ่งแล่นทวนน้ำได้ระยะทาง 15 กิโลเมตร ใช้เวลา 45 นาที แต่ถ้าแล่นตามน้ำจะได้ระยะทาง 16.5 กิโลเมตร ในเวลาที่เท่ากัน อัตราเร็วของกระแสน้ำและอัตราเร็วเรือในน้ำนิ่งเป็นเท่าไร ตามลำดับ
1.1 กม./ชม. และ 20 กม./ชม
2.2 กม./ชม. และ 20 กม./ชม.
3.1 กม./ชม. และ 21 กม./ชม
4.1 กม./ชม. และ 21 กม./ชม
17.
เงาของเสาไฟฟ้าต้นหนึ่งทอดยาว 4 เมตร ขณะที่เงาของตู้ไปรษณีย์ซึ่งสูง 1.4 เมตร ทอดยาว 0.7 เมตร เสาไฟฟ้าสูงกี่เมตร
1.6 เมตร
2.7 เมตร
3.8 เมตร
4.9 เมตร
18.
ต้นไม้เล็กต้นหนึ่งสูง 3.5 เมตร อยู่ห่างจากต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่ง 6 เมตร ชายคนหนึ่งสูง 1.5 เมตร ยืนอยู่ห่างจากต้นไม้เล็ก 3 เมตร ทำให้มองเห็นยอดต้นไม้เล็กและยอดต้นไม้ใหญ่อยู่ในแนวเดียวกัน ต้นไม้ใหญ่สูงกี่เมตร
1.6 เมตร
2.7.5 เมตร
3.8 เมตร
4.9.5 เมตร
19.
ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงค่าจากมากไปน้อยดังนี้ 20, 20, x, 15, 15, 12, 10, 10, 10, 8, 8, 4 ถ้าค่าเฉลี่ยมากกว่ามัธยฐานอยู่ 1.5 แล้วค่า x ตรงกับข้อใด
1.16
2.17
3.18
4.19
20.
กลอยใจนับธนบัตรในกระเป๋าสตางค์ปรากฏว่ามีธนบัตรใบละยี่สิบบาทน้อยกว่าธนบัตรใบละห้าสิบบาทอยู่ 3 ใบ และจำนวนเงินในกระเป๋ามีไม่น้อยกว่า 360 บาท กลอยใจมีธนบัตรใบละห้าสิบบาทน้อยที่สุดกี่ใบ
1.3 ใบ
2.4 ใบ
3.5 ใบ
4.6 ใบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น